วันพุธที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553


เทคนิคการสอนภาษาอังกฤษแบบ TPR-P

TPR-P(Total Physical Response-Picture) เป็นการสอนเกี่ยวกับการออกคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับรูปภาพ การเลือก ภาพที่ใช้ในการเรียนการสอนควรใช้ให้เหมาะสมกับนักศึกษา โดยยกตัวอย่างคำถามจากภาพ เมื่อครูถามแล้วให้ผู้เรียนไปชี้ภาพให้ดู ไม่มีการพูดภาพที่ครูกำหนดควรเป็นภาพตัดแปะจะได้เคลื่อนย้าย คน สัตว์ สิ่งของ ไปไว้ตามตำแหน่งต่างๆของภาพได้ เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียน เป็นการสอนโดยใช้คำสั่งที่เกี่ยวข้องกับรูปภาพ มีเป้าหมายให้ผู้เรียนรู้จักกลุ่มคำเกี่ยวกับภาพต่างๆ มี ๓ประเภท
๑. ภาพโปสเตอร์ แผ่นพับ รูปภาพที่มีอยู่แล้ว
๒. ภาพตัดแปะจากผ้า หรือ กระดาษ
๓. ภาพวาดลายเส้นหรือภาพสีที่ผลิตโดยครูหรือผู้เรียน หรือภูมิปัญญา ท้องถิ่น



หลักการ
๑.รูปภาพที่ใช้ต้องมีสิ่งของ/กิจกรรมต่างๆ/ผู้คนที่จะสอนผู้เรียนได้
๒.ครูจะสอนให้ผู้เรียนมาชี้ จับ แตะ สิ่งต่างๆในภาพตามที่ครูต้องการสอน
๓.การใช้ TPR-P อาจสอนอาทิตย์ละครั้ง แต่ถ้านักศึกษามีความก้าวหน้าอาจใช้สอนมากกว่านี้
๔.ภาพหนึ่งอาจสอนได้หลายๆครั้ง โดยอาจสอนเสริมเมื่อผู้เรียนรู้คำศัพท์มามากแล้ว
๕.อาจใช้ TPR-B ประกอบการสอน TPR-P เช่น สอนเรื่อง ข้างหน้าข้างหลัง ข้างๆ สอนคำเหล่านี้ก่อน จึงสอนคำจากรูปภาพ
๖.ภาพควรเป็นภาพที่เหมาะสมกับบุคคลและสอดคล้องกับสภาพของนักศึกษา



๔.TPR-S (Total Physical Response-Story telling) เป็นการสอนภาษาโดยการเล่าเรื่อง โดยครูเล่าเรื่องคล้ายกับชีวิตประจำวันของนักเรียน หรือเล่านิทาน ๒-๓ ครั้ง แล้วให้ผู้เรียนมาแสดงละครจากเรื่องที่ครูเล่า หรือบางครั้งอาจเปลี่ยนเป็นอาจารย์อ่านให้ฟัง ๑-๓ ครั้ง ให้นักศึกษาเขียนขึ้นมาใหม่เหมือนครูเล่าหรือไม่ แสดงว่าผู้เรียนฟังแล้วเข้าใจมากน้อยแค่ไหน ให้เริ่มจากง่าย ๆ ก่อนเป็นการสอนเกี่ยวกับการออกคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับรูปภาพ การเลือก ภาพที่ใช้ในการเรียนการสอนควรใช้ให้เหมาะสมกับนักศึกษา โดยยกตัวอย่างคำถามจากภาพ เมื่อครูถามแล้วให้ผู้เรียนไปชี้ภาพให้ดู ไม่มีการพูดภาพที่ครูกำหนดควรเป็นภาพตัดแปะจะได้เคลื่อนย้าย คน สัตว์ สิ่งของ ไปไว้ตามตำแหน่งต่างๆของภาพได้ เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียน รู้จักภาพเหล่านั้นจริงๆ ไม่ใช่การท่องจำภาพเท่านั้นเป็นการสอนที่ใช้เรื่องเล่าการสอนภาษาโดยการใช้รูปภาพ TPR-P
การสอนภาษาด้วยการเล่าเรื่อง ควรใช้เมื่อผู้เรียนมีความพร้อมด้านภาษาอังกฤษ โดยครูเลเรื่องราวที่คล้ายคลึงกับชีวิตประจำวันของผู้เรียน หรือ นิทานเรื่องง่ายๆ ครูเล่าเรื่องให้ฟังอีกครั้งหนึ่ง จากนั้นให้ผู้เรียนออกมาแสดงเรื่อง(ตามที่ครูเล่า)โดยไม่ต้องพูด ต่อมาให้ผู้เรียนเล่าเรื่องเอง แล้วให้ผู้เรียนคนอื่นมาแสดงละครตามเรื่องที่ผู้เรียนเล่า

จุดประสงค์ของ TPR-S คือ ต้องการให้ผู้เรียนฟังครูพูดให้เข้าใจและทำท่าทาง โดยผู้เรียนไม่ต้องพูด เพียงแต่แสดงท่าทางประกอบการเล่าเรื่องเท่านั้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น